7 สัญญาณ คุณกำลังบ้างานหรือเปล่า?

7 สัญญาณ คุณกำลังบ้างานหรือเปล่า?

เช็กสัญญาณเตือน”ภาวะบ้างาน” พฤติกรรมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตของตัวเองและคนรอบข้าง หากคุณมีมากกว่า 4 ข้อใน 7 ข้อต่อไปนี้ คุณควรจัดสมดุลระหว่างการทำงานกับชีวิตให้มากขึ้น ภาวะบ้างาน (Workaholic) ไม่ใช่โรค แต่เป็นภาวะหมกหมุนกับงานมากเกินไป อย่าลืมความสมดุลระหว่างการทำงานกับชีวิตกันนะ  หากต้องการพนักงานที่มีคุณภาพ ติดต่อหาเราสิคะ   หากสนใจสามารถติดต่อได้ที่  098-2872450  094-9486465 LINE: @GenZmanpower

วิธีเลิกคิด “เรื่องงาน” ตอนนอน

วิธีเลิกคิด “เรื่องงาน” ตอนนอน

เวลางานก็เครียดมากพออยู่แล้ว กลับบ้านแทนที่จะได้พักผ่อน แต่สมองกลับคิดแต่เรื่องงาน จะนอนก็นอนไม่หลับ แถมเสียสุขภาพอีกต่างหาก ใครกำลังเจอปัญหาแบบนี้อยู่ ลองเอาวิธีนี้ ไปใช้กันดูนะ 1. จดรายการที่ต้องทำ : จากการศึกษาพบว่า การทำลิสต์รายการที่ต้องทำในวันพรุ่งนี้ในช่วงเวลาก่อนนอน จะช่วยให้นอนหลับได้ง่ายขึ้น งานและความคิดไม่วนเวียนในหัว ลดความกังวล หากอยู่ดีๆ นึกถึงงานด่วนขึ้นมา ก็ให้หยิบปากกาขึ้นมาจดแล้วกลับไปนอนต่อ 2. จดบันทึกความรู้สึก : การจดบันทึกความรู้สึกของเราในแต่ละวันมันเหมือนการได้ระบายออกมา ได้ประมวลผลอารมณ์ตัวเอง เราสามารถมองเห็นภาพมันได้มากขึ้น ส่งผลให้เรารู้สึกวิตกกังวลน้อยลง นอนหลับได้ง่ายขึ้น 3. ฝึกการเห็นอกเห็นใจตัวเอง : รู้จักเห็นอกเห็นใจตัวเองเหมือนกับที่เราทำกับผู้อื่น ยอมรับความรู้สึกตัวเอง ยอมรับว่าเราเศร้า เครียด แต่ทุกอย่างก็จะผ่านไป ให้กำลังใจตัวเอง ไม่โทษตัวเอง ให้สิ่งดีๆ กับตัวเองบ้าง เพราะนั้นคือสิ่งที่คุณสมควรได้รับ การเห็นอกเห็นใจตนเองช่วยลดความเครียดและความกังวลได้ดีมากๆ และแน่นอนว่ามันส่งผลให้เรานอนหลับได้ดีขึ้นอีกด้วย 4. ออกกำลังกาย : การออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน จะช่วยให้การนอนดีขึ้น หลับลึกขึ้น จิตใจผ่อนคลายมากขึ้น หากกำลังเครียด คิดมากเพราะเรื่องงาน ลองหาเวลาไปออกกำลังกายสักหน่อย รับรองว่าหลับสบายแน่นอน […]

อยู่ให้เป็น..ในที่ทำงานด้วย 5 วิธี แม้จะคับใจก็อยู่ได้

อยู่ให้เป็น..ในที่ทำงานด้วย 5 วิธี แม้จะคับใจก็อยู่ได้

“คับที่อยู่ได้ คับใจอยู่ยาก” ปัญหาที่คนทำงาน ต้องพบเจอ การที่เราต้องทำงานร่วมกับคนมาก ๆ ทำให้เราต้องพบเจอคนหลายรูปแบบ วันนี้เราจึงมี 5 วิธีที่จะทำให้คุณอยู่อย่างสันติได้ในที่ทำงาน ! 1.รับผิดชอบต่องานของตนให้ดี เมื่อเราได้รับมอบหมายงาน ก็ควรที่จะทำงานนั้นให้ดีที่สุดการที่คุณมีผลงานที่ดีจะทำให้เจ้านายรักและชื่นชม ในตัวของคุณ และที่สำคัญคือคุณต้องมีความรับผิดชอบต่องานคุณ ให้มากพอเสียก่อนที่จะไปช่วยรับผิดชอบงานของคนอื่น 2.เป็นกลางให้มากที่สุด ไม่เลือกเข้าข้าง หรือเห็นดีเห็นงามกับฝ่ายใดอย่างออกนอกหน้า การที่คุณพยายามวางตัวเป็นกลางมากที่สุด จะทำให้คุณ สามารถพูดคุยและทำงานร่วมกับทุกฝ่ายได้อย่างมีปัญหาน้อยที่สุด 3.มีน้ำใจและแล้งน้ำใจให้ถูกเวลา การมีน้ำใจต่อผู้อื่น แน่นอนว่าเป็นสิ่งที่ดีและช่วยให้คุณ เป็นที่รักของคนในที่ทำงาน แต่ในบางครั้งการที่คุณมีน้ำใจมากเกินไป ก็ทำให้ใครบางคนไม่มีความเกรงใจ และคิดเอาเปรียบคุณได้ดังนั้นคุณควรมีน้ำใจและแล้งน้ำใจให้ถูกที่ถูกเวลา 4.ไหว้ให้เป็น ยิ้มให้เป็น และขอโทษให้เป็น การอ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักเด็กรู้จักผู้ใหญ่ จะทำให้คุณน่าเอ็นดูมากขึ้นการที่คุณมีรอยยิ้มอยู่เสมอจะทำให้คนรอบตัวของคุณรู้สึกดีเมื่ออยู่ใกล้และอยากที่พูดคุยด้วย ส่วนการขอโทษก็ถือเป็นคำสำคัญที่จะช่วยให้ปัญหา ทุกอย่ายุติได้ง่ายขึ้น รวมไปถึงการขอบคุณด้วยเช่นกัน 5.มารยาทและกาลเทศะเป็นสิ่งที่ต้องมี การทำงานในบริษัท แน่นอนว่าเรื่องของมารยาท หรือกาลเทศะถือเป็นเรื่องสำคัญการที่คุณวางตัวดี มีมารยาท รู้กาลเทศะ เคารพผู้ใหญ่ทุกคนจะทำให้ใคร ๆ ก็เมตตาและมองว่าคุณเป็นน่ารักรวมไป ถึงการตั้งใจทำงานให้ดี เพียง 5 ข้อง่ายๆนี้หวังว่าจะช่วยให้คนทำงาน ทุกคนมีความสุขกับการใช้ชีวิตในบริษัทมากขึ้น เครดิต : […]

ขั้นตอนการทำแผนพัฒนาบุคคล Individual Development Plan

ขั้นตอนการทำแผนพัฒนาบุคคล Individual Development Plan

IDP หรือ Individual Development Plan (แผนพัฒนาบุคคล) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนและกำหนดเป้าหมายการพัฒนาบุคคลภายในองค์กร โดยส่วนใหญ่จะใช้ในกระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลและการเตรียมความพร้อมในการเลื่อนขั้นหรือพัฒนาตนเอง ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของการทำ IDP ของพนักงาน 1. การวิเคราะห์ความสามารถและความต้องการ: พนักงานจะต้องทำการวิเคราะห์ความสามารถของตนเองและความต้องการในการพัฒนา เช่น ทักษะที่ต้องการพัฒนา เรียนรู้ในด้านใหม่ๆ หรือการเตรียมตัวสำหรับตำแหน่งใหม่ 2. กำหนดเป้าหมายและกิจกรรมการพัฒนา: พนักงานจะต้องกำหนดเป้าหมายที่ต้องการในการพัฒนาและระบุกิจกรรมที่จะทำเพื่อให้เกิดการพัฒนา เช่น เข้าร่วมการอบรมหรือหลักสูตร เขียนบทวิเคราะห์ หรือมีโค้ชเป็นตัวช่วยในการพัฒนา 3. ติดตามและประเมินผล: พนักงานและผู้บังคับบัญชาควรมีการติดตามและประเมินผลการพัฒนาตาม IDP เพื่อให้พนักงานได้รับข้อมูลและตอบกลับว่าได้รับผลอย่างไร และเพื่อปรับปรุงแผนพัฒนาในอนาคต 4. การกำหนดเวลาและการติดตามความคืบหน้า: ควรมีการกำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาและการติดตามความคืบหน้า เช่น ตามตารางการอบรม หรือการประเมินความก้าวหน้าในทักษะที่พัฒนา 5. การประเมินความสำเร็จ: ต้องมีการประเมินความสำเร็จของ IDP เพื่อให้พนักงานและผู้บังคับบัญชาได้รับข้อมูลเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่ได้รับจากการพัฒนา และแนวทางการปรับปรุงในอนาคต การทำ IDP ช่วยให้พนักงานมีการกำหนดเป้าหมายและแผนการพัฒนาที่ชัดเจน และช่วยให้พนักงานเตรียมตนให้พร้อมกับความต้องการและภารกิจขององค์กร นอกจากนี้ IDP ยังช่วยสร้างแรงจูงใจและความพึงพอใจในการทำงาน โดยทำให้พนักงานรู้สึกว่าองค์กรให้ความสำคัญและสนับสนุนในการพัฒนาตนเอง แต่หากต้องการพนักงานที่มีคุณภาพ ทำงานเก่ง และตรงใจให้เราช่วยคุณสิคะ เครดิต […]